У нас вы можете посмотреть бесплатно โรคเหี่ยวเขียวของพริก(Chili Bacterial Wilt Disease) или скачать в максимальном доступном качестве, видео которое было загружено на ютуб. Для загрузки выберите вариант из формы ниже:
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием видео, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса ClipSaver.ru
โรคเหี่ยวเขียวของพริก (Chili Bacterial Wilt Disease) เชื้อสาเหตุ Ralstonia solanacearum(Yabuuchiet al.,1995) (Pseudomonas solanacearum) ลักษณะอาการ อาการของโรคจะพบกระจาย หรือเป็นกลุ่มในแปลงปลูก เริ่มแรก ใบอ่อนหรือใบยอดจะเหี่ยวเฉพาะเวลากลางวันที่อากาศร้อนจัด และจะกลับมาปกติใน เวลาค่ำที่อากาศเย็น จากนั้นใบจะเริ่มเหี่ยวเพิ่มมากลามลงมา จนเหี่ยวทั้งต้นและเหี่ยว อย่างถาวรทันทีโดยที่ใบยังคงเขียวอยู่ เมื่อถอนต้นขึ้นมาพบว่าเกิดอาการเน่าขึ้นที่ราก และถ้าตัดลำต้นออกตามขวางแช่ในน้ำใสภายใน 5-10 นาทีจะมีเมือกสีขาวขุ่น (bacterial ooze) ไหลออกมาตามรอยตัดเป็นสายละลายปนกับน้ำออกมา เมื่อเป็น โรคมากภายในลำต้นจะกลวงเนื่องจากถูกเชื้อทำลายเนื้อเยื่อและตายในที่สุด การป้องกันกำจัด เนื่องจากเชื้อ R. solanacearum เป็นเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคในดิน การ ป้องกันกำจัดโรคนี้ค่อนข้างยาก ในปัจจุบันยังไม่มีสารเคมีใดที่สามารถใช้กำจัดโรคนี้ อย่างได้ผลสมบูรณ์ แนวทางการป้องกันกำจัดจึงเน้นไปในแนวทางการหลีกเลี่ยง และ ป้องกันการระบาดของโรค ดังแนวทางต่อไปนี้ 1. ควรหลีกเลี่ยงพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคนี้มาก่อน 2. ใช้พันธุ์ต้านทานโรคเหี่ยวเขียว 3. ฆ่าเชื้อสาเหตุในดินปลูกโดยการอบดินฆ่าเชื้อด้วยยูเรีย อัตรา 80 กิโลกรัม และปูนขาว อัตรา 800 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ไร่ โดยอบทิ้งไว้2-3 สัปดาห์ ก่อนปลูกพืช 4. เครื่องมือเครื่องใช้ควรจุ่มแอลกอฮอล์70% หรือ clorox 10% ทุกครั้ง ที่ใช้เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อระบาดต่อไป 5. หมั่นตรวจและสังเกตแปลงปลูกเสมอ เมื่อพบต้นที่แสดงอาการของโรคให้ ขุดออกนำไปเผาทำลาย ขุดดินบริเวณรอบต้นนำไปฝังทำลาย โรยปูนขาว บริเวณหลุมที่ขุดออกเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อโรค 6. ทำลายเชื้ออาศัยอื่นๆ หรือวัชพืช เพื่อไม่ให้เป็นพืชที่อาศัยข้ามฤดู 7. ปรับระบบการใช้น้ำ ควบคุมความชื้นในดินไม่ให้มากเกินไป เพื่อลดความ รุนแรงของโรค 8. ในพื้นที่ที่เกิดโรคระบาดควรปลูกพืชหมุนเวียนที่ไม่ใช่พืชอาศัยของเชื้อ สาเหตุโรค เช่น ข้าวโพด ข้าว ฝ้าย ถั่วเหลือง สลับกัน เป็นเวลามากกว่า 1 ป ** ติดตามทาง Facebook** FB : / kasetworld99 FB Fanpage : / kasetworld-%e0%b9%82%e0%b8%a5%e0%b8%81%e0%... ขอบคุณครับ **ท่านใดที่ต้องการซื้อเชื้อไตรโคเดอร์มา มีหลายแบบ และ เชื้อบีเอส จาก ม.เกษตรศาสตร์ โดยตรง ผมแนะนำซื้อจากที่นี่นะครับ** Facebook : https://web.facebook.com/people/%E0%B... **** ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายในตลาด Online ทั่วไป (ทางช่อง Kasetworld มิได้จำหน่ายสินค้าแต่อย่างใดเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ขอบคุณครับ)**** 1.. ไตรโคเดอร์มา 1... ไตรซาน ไตรโคเดอร์มา กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3uZTMT8 2... เชื้อไตรโคเดอร์มาเข้มข้น กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3cmLDSt 3... เชื้อไตรโคเดอร์มาเข้มข้น 1 กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3fZatKw 4... เชื้อไตรโคเดอร์มา+บีเอส กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3ptbQUF 2.. บีเอส บาซิลลัสซัลทิลิส 1... ชีวภัณฑ์ ลาร์มิน่า เชื้อแบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทีลีส AP-01 (Bacillus subtilis) 1000 กรัม กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3cpkqyt 2... KOKOMAX สินค้าการเกษตร เชื้อจุลินทรีย์บาซิลลัส ซับทีลิส (บีเอส) ชนิดน้ำ กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/3uXAbDo 3... KOKOMAX สินค้าการเกษตร เชื้อจุลินทรีย์บาซิลลัส ซับทีลิส (บีเอส) ชนิดน้ำ กดลิงค์ได้เลยครับ Link : https://bit.ly/2S7YIs4