У нас вы можете посмотреть бесплатно ความรู้วิเศษ ๘ ประการในพุทธศาสนา (วิชชา ๘) или скачать в максимальном доступном качестве, видео которое было загружено на ютуб. Для загрузки выберите вариант из формы ниже:
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием видео, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса ClipSaver.ru
สามัญญผลสูตร ว่าด้วยผลแห่งความเป็นสมณะ เสียงอ่าน พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเล่ม ๙ หน้า ๗๗ เชิงอรรถ กิเลสมีราคะเป็นต้น ท่านเรียกว่า กิเลสเพียงดังเนิน (อังคณะ) เพราะยังจิตให้ลาดต่ำ โน้มเอียงไปสู่ที่ต่ำเช่นต้องย้อนกลับไปสู่จตุตถฌานอีก เป็นต้น ญาณทัสสนะ หมายถึงความรู้และความเห็นตรงตามเป็นจริง คำว่า มหัคคตะ แปลว่า ถึงความเป็นใหญ่ มหัคคตจิต หมายถึงจิตที่ถึงฌานสมาบัติ สังวัฏฏกัป (เรียกเต็มว่า สังวัฏฏอสงไขยกัป) กัปเสื่อม คือ ระยะกาลที่โลกเสื่อมลงจนถึงวินาศ วิวัฏฏกัป (วิวัฏฏอสงไขยกัป) กัปเจริญ คือ ระยะกาลที่โลกกลับเจริญขึ้น พรหมจรรย์ หมายถึง “จริยะอันประเสริฐ”, “การครองชีวิตประเสริฐ” ตามที่เข้าใจกันทั่วไป หมายถึงความประพฤติเว้นเมถุน หรือการครองชีวิตดังเช่นการบวชที่ละเว้นเมถุน แต่แท้จริงนั้น พรหมจรรย์ คือพรหมจริยะ เป็นหลักการใหญ่ที่ใช้ในแง่ความหมายมากหลาย ดังที่อรรถกถาแห่งหนึ่งประมวลไว้ ๑๐ นัย คือหมายถึง ทาน ไวยาวัจจ์ (คือการขวนขวายช่วยเหลือรับใช้ทำประโยชน์) เบญจศีล อัปปมัญญาสี่ (คือพรหมวิหารสี่) เมถุนวิรัติ (คือการเว้นเมถุน) สทารสันโดษ (คือความพอใจเฉพาะภรรยาหรือคู่ครองของตน) ความเพียร การรักษาอุโบสถ อริยมรรค พระศาสนา (อันรวมไตรสิกขาทั้งหมด) เฉพาะอย่างยิ่ง ความหมายสำคัญที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นหลัก คือ ๒ นัยสุดท้าย (อริยมรรค และพระศาสนา) กิจที่ควรทำในที่นี้ หมายถึง กิจในอริยสัจ ๔ คือ การกำหนดรู้ทุกข์, การละเหตุเกิดแห่งทุกข์, การทำให้แจ้งซึ่งความดับทุกข์ และการอบรมมรรคมีองค์ ๘ ให้เจริญ