У нас вы можете посмотреть бесплатно 8 ตัวชี้วัดของ วPA สู่การสร้างห้องเรียนแบบ Active Learning или скачать в максимальном доступном качестве, видео которое было загружено на ютуб. Для загрузки выберите вариант из формы ниже:
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием видео, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса ClipSaver.ru
"ตัวชี้วัดของ วPA เป็นกรอบให้ครูพัฒนาการสอนแบบ Active Learning โดยอัตโนมัติ ทุกตัวชี้วัดอยู่ที่ห้องเรียนทั้งหมด และงานที่จะส่งเข้าไปในระบบ DPA ทั้งหมด เป็นงานที่คุณครูทุกท่านทำอยู่แล้ว จึงเป็นการลดภาระงานและเอกสารการประเมินได้จริง ๆ" คุณครูปัญญรัสม์ อยู่ยั่งยืน ครูชำนาญการพิเศษ (ผ่านการประเมินในระบบ DPA) โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ จ.นครสวรรค์ ................................................................. คุณครูออกแบบการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์อุปกรณ์การเรียนด้วยตนเอง เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนกับวิชาทัศนศิลป์ ด้วยการจำลองเครื่องดนตรีขิมโดยใช้เทคนิคเปเปอร์มาเช่ ให้ผู้เรียนประดิษฐ์ขิมจำลองในขนาดเท่าขิมจริง ใช้แผนผังตัวโน๊ตขนาดเท่าของจริง และไม้ขิมจริงในการเรียน เป็นการแก้ปัญหาเครื่องดนตรีไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงผ่านผลงานสร้างสรรค์ของตนเองก็จะทำให้นักเรียนเกิดความรู้ที่คงทน ทั้งการจำโน้ตเพลง น้ำหนักและท่าทางในการตีขิม เมื่อนักเรียนมีโอกาสได้ใช้เครื่องดนตรีจริงก็จะทำให้นักเรียนสามารถตีได้โดยธรรมชาติ นี่จึงกลางเป็นห้องเรียนที่สนุกและมีคุณภาพซึ่งจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของ วPA ........................ #วpa #ระบบdpa #แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกณฑ์pa #วิทยฐานะ #ประเด็นท้าทาย #ครูชำนาญการพิเศษ #ครูสอนดนตรี #8ตัวชี้วัด #วิชาดนตรีไทย