У нас вы можете посмотреть бесплатно ต้องรดน้ำพืชเท่าไหร่ถึงจะพอต่อความต้องการ? или скачать в максимальном доступном качестве, видео которое было загружено на ютуб. Для загрузки выберите вариант из формы ниже:
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием видео, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса ClipSaver.ru
ปลูกพืชต้องรดน้ำเท่าไหร่จึงจะพอ สำหรับช่วงนี้นะครับก็เข้าสู่ฤดูแล้งเต็มตัว คาดการณ์ว่าอากาศก็จะร้อนขึ้นมาความแห้งแล้ง...และการระเหยของน้ำก็จะมีมากนะครับ...ซึ่งจะมีผลต่อการดน้ำของพืชผัก พืชสวนของเรา...ฉะนั้น...แหล่งน้ำที่สำคัญสำหรับการปลูกพืชเป็นอย่างมาก โดยน้ำเป็นปัจจัยสำหรับพืช....ที่จะทำให้พืชเจริญเติบโตให้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ นอกจะนั้นน้ำยังทำให้ดินมีความนุ่ม ซึ่งจะส่งผลทำให้รากพืชสามารถที่จะชอนไชหาธาตุอาหารได้ดีขึ้น และก็น้ำก็จะเป็นปัจจัยที่จะช่วยละลายธาตุอาหารให้เป็นสารละลายเพื่อจะทำให้พืชสามารถดูดไปใช้ได้ เมื่อน้ำมีความสำคัญต่อพืช... แล้วเราจะรดน้ำเท่าไหร่จึงจะพอสำหรับพืชที่ปลูกได้ โดยปกติ...ในทุกวันจะมีการรดน้ำพืช และก็จะมีน้ำจากธรรมชาติ นั้นก็คือน้ำฝนตก... แล้วทีนี้น้ำที่เรารดลงไปในดินทุกวันๆ หรือว่าน้ำที่เกิดจากฝนตก...มันหายไปไหนบ้าง...ซึ่งน้ำหรือว่าความชื้นในดินจะสูญหายได้ 3 กรณี น้ำจะซึมลงไปในพื้นดิน ส่วนหนึ่งก็น้ำจะระเหยไปในอากาศ และก็อีกส่วนหนึ่งจะถูกพืชดูดขึ้นไปใช้แล้วก็มีการคายทิ้งทางปากใบ ดังนั้นหลักการรดน้ำให้พอสำหรับพืชง่ายๆ...ก็คือ...ขอแค่รดน้ำในปริมาณที่ไม่น้อยกว่าระดับอัตราการระเหยไปในอากาศก็พอ..เพราะว่าในกรณีที่น้ำซึมลงไปในดินยังไงส่วนหนึ่งพืชก็สามารถดูดมาใช้ได้...แต่น้ำที่ระเหยไปในอากาศพืชไม่สามารถดูดมาใช้ได้เลย อัตราการระเหยของน้ำในแต่ภาคแต่ละจังหวัดก็จะไม่เท่ากัน...ซึ่งสามารถเข้าไปดูได้ที่เว็บไซค์ของของของกรมอุตุนิยมวิทยานะครับ...โดยเข้าไปที่ www.tmd.go.th จากนั้นก็เข้าไปที่เมนูหน้าแรก จะขึ้นเมนูย่อยมา...ให้เข้าไปที่กรมอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร...แล้วก็จะมี menu bar ย่อยข้างล่างนะครับให้เลื่อนไปที่ เมนูราย 3 เดือน ซึ่งข้างล่างก็จะเป็นรายงานสถิติการพยากรณ์สภาพอากาศเพื่อการเกษตร...ก็คลิ๊กเข้าไปดูแต่ละเดือน..เราจะเข้าไปดูสถิติเดือนไหนก็ได้...ตอนนี้เราจะลองเข้าไปดูสถิติของเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมนะครับ...แล้วก็จะเลื่อนลงมาที่หัวข้อคาดหมายอุณหภูมิ อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย จำนวนชั่วโมงที่มีแสงแดดและก็ปริมาณน้ำระเหย...ที่นี้เราก็มาดูว่าอัตราการระเหยของน้ำในแต่ละภาคเท่าไหร่ สมุติว่าเรามาดูที่อัตราการระเหยของน้ำในภาคตะวันออก ในเดือนมีนาคมก็จะอยู่ที่ 4-6 มิลลิเมตร/วัน ค่าเฉลี่ยก็จะอยู่ประมาณ 5 มิลลิเมตร/วัน จากตัวเลขสถิติการระเหยของน้ำนะครับแล้วก็จะมาคำนวณการรดน้ำแบบง่ายๆกันนะครับ สมมุติว่าเราปลูกทุเรียนตอนนี้มีขนาดทรงพุ่ม = 2 เมตร เวลารดน้ำทุเรียนนะครับก็จะเอาขนาดของทรงพุ่มนี่ล่ะครับเพื่อชดเชยน้ำที่ระเหยไปในอากาศ เพราะว่าเราจะลดน้ำอยู่แจ้งภายในทรงพุ่มท่านั้นนะครับ ดังนั้นในพื้นที่รัศมีของทรงพุ่ม 2 เมตรก็จะมีพื้นที่ 22 / 7 (ก็คือค่าพาย ก็จะเท่ากับ 3.14) คูณด้วย 2 ^ 2 ก็จะได้พื้นทีทรุงพุ่มเท่ากับ 12.56 ตารางเมตร การระเหยในพื้นที่รดน้ำนั่นก็คือพื้นที่รอบทรงพุ่มจะเท่ากับ 5 x 12.56 = 62.8 ลิตร/วัน...ดังนั้นเราจะต้องรดน้ำทุเรียน 62.8 ลิตร/ต้น /วัน เมื่อเรารู้หลักการแล้วนะครับจะได้รู้ว่าทุเรียนต้องการน้ำจำนวนมหาศาลมาก ถึงไม่ควรปล่อยให้ดินแห้ง ทำให้ทุเรียนแสดงอาการเหี่ยวจะมีผลต่อทุเรียนโดยตรง...แล้วก็หลักการนี้ ซึ่งเป็นการคำนวณการรดน้ำแบบง่ายๆ ที่สามารถนำไปใช้ได้กับทุกพืช... ถ้าทราบแล้วก็อย่าลืมกดไลค์กดแชร์กด subscribe ด้วยนะครับเพื่อเป็นกำลังใจในการทำคลิปต่อไปสุดท้ายก็ขอให้มีความสุขในการทำเกษตรเช่นเคยเจอกันคลิปต่อไป ขอบคุณครับ +++++++ ติดต่อฅนเกษตร : / konkaset89 ติดต่อทีมงาน Production : / korkai.studio9