• ClipSaver
ClipSaver
Русские видео
  • Смешные видео
  • Приколы
  • Обзоры
  • Новости
  • Тесты
  • Спорт
  • Любовь
  • Музыка
  • Разное
Сейчас в тренде
  • Фейгин лайф
  • Три кота
  • Самвел адамян
  • А4 ютуб
  • скачать бит
  • гитара с нуля
Иностранные видео
  • Funny Babies
  • Funny Sports
  • Funny Animals
  • Funny Pranks
  • Funny Magic
  • Funny Vines
  • Funny Virals
  • Funny K-Pop

ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ? ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่โวลต์ ? скачать в хорошем качестве

ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ? ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่โวลต์ ? 3 years ago

ไฟฟ้า 3 เฟส

ไฟฟ้า 3 เฟส คือ

ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่สาย

ไฟฟ้า 3 เฟส กี่โวลต์

ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่โวลต์

ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร

ไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย คือ

ไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย

ไฟฟ้า 3 เฟส เดลต้า

ไฟฟ้า 3 เฟส คืออะไร

Не удается загрузить Youtube-плеер. Проверьте блокировку Youtube в вашей сети.
Повторяем попытку...
ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ? ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่โวลต์ ?
  • Поделиться ВК
  • Поделиться в ОК
  •  
  •  


Скачать видео с ютуб по ссылке или смотреть без блокировок на сайте: ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ? ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่โวลต์ ? в качестве 4k

У нас вы можете посмотреть бесплатно ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ? ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่โวลต์ ? или скачать в максимальном доступном качестве, видео которое было загружено на ютуб. Для загрузки выберите вариант из формы ниже:

  • Информация по загрузке:

Скачать mp3 с ютуба отдельным файлом. Бесплатный рингтон ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ? ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่โวลต์ ? в формате MP3:


Если кнопки скачивания не загрузились НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием видео, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу страницы.
Спасибо за использование сервиса ClipSaver.ru



ไฟฟ้า 3 เฟสคืออะไร ? ไฟฟ้า 3 เฟส มีกี่โวลต์ ?

สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ช่อง ZimZim DIY สำหรับวันนี้ ผมจะมาอธิบาย ไฟฟ้า 3 เฟตว่ามันคืออะไร และ ทำงานอย่างไร ซึ่งโดยปกติทั่วไปแล้ว ตามบ้านครัวเรือนของเรา เราจะใช้ไฟฟ้าเพียง 1 เฟตเท่านั้น มันก็เพียงพอสำหรับการใช้งาน ในทุกอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เรามี ไฟฟ้า 1 เฟต จะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ หรือ ไฟฟ้า AC จะมีคลื่นสัญญาณที่เป็นไซน์เวฟ ที่เป็นลักษณะนี้ ถ้าหากเราต้องการนำไปใช้งาน เราจะลากสายไฟ 2เส้น ต่อโยงจาก เสาไฟฟ้า เข้ามาภายในบ้าน นั้นก็คือ สายนิวตรอน 1 เส้น และก็ สาย Line 1 เส้น ถ้าเราวัดแรงดันก็จะได้ประมาณ 220V ครับ แต่บนเสาไฟฟ้าถ้าเพื่อนๆสังเกตุ เรามักจะเห็น สายไฟอยู่ 4 เส้น สายนิวตรอนจะอยู่บนสุด ไม่มีไฟ ส่วย สาย Line จะถัดๆลงมาอีก 3 เส้น แต่ละเส้นถ้าเราวัดกับคู่นิวตรอน แรงดันก็จะเท่ากันหมด ประมาณ 220V ที่เราคุ้นหูเราจะเรียยกสาย Line พวกนี้ว่าเป็นสาย L1 L2 และ L3 อย่งาที่ผมบอก เราสามารถคีบ สายนิวตรอนกับสาย Line 1ใน3 เส้นไหนก็ได้ แต่เราไม่สามารถขึ้นไปจั้มไปต่อเองได้นะครับ ต้องให้เจ้าหน้าที่ไฟฟ้า เค้าดูความเหมาะสม ว่าควรจะเลือกสาย Line เส้นไหนต่อเข้าไปที่บ้านเรา ผมเคยเจอเหตุการ์ณจริงครั้งหนึ่งนะครับ ก็คือตอนผมเด็กๆ ที่บ้านของผมไฟฟ้ามันชอบตกบ่อยๆ ก็เลยโทรติดต่อแจ้งเจ้าหน้าที่ การไฟฟ้าเข้ามาดู ก็ปรากฎว่า เจ้าหน้าที่ ก็ได้ปีนขึ้นไปที่เสาไฟฟ้า แล้วก็ทำการ สลับเปลี่ยนสายไฟอะไรบางอย่าง และก็บอกว่า สายไฟเส้นเดิมที่ผมใช้ ในหมู่บ้านเค้าใช้กันเยอะแล้ว ซึ่งมันอาจจะทำให้ไฟตกได้ ในกรณีที่คนในหมู่บ้านใช้ไฟพร้อมกัน เป็นจำนวนมาก ก็มารู้ทีหลังตอนโตว่าเขา สลับไปใช้อีกสาย line อีกเส้นหนึ่ง ก็เลยเป็นความรู้ติดตัวตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา มาดูไฟฟ้า 2 เฟตกันบ้างครับ เราจะใช้สาย line ที่มีไฟ 2 เส้น line เส้นที่ 2 ก็จะเป็นคลื่นไซน์เวฟเหมือนกัน แรงดันเท่ากัน แต่รูปคลื่นสัญญาณ เฟต จะทำมุมที่ไม่เท่ากัน มันจะเอียงทำมุมประมาณ 120 องศา แต่ในบ้านเราไม่ค่อยเห็นมีใครใช้ไฟ 2 เฟตกันครับ ถ้าเพื่อนๆท่านไหนเคยเห็นผ่านตามาบ้างก็สามารถ คอมเมนท์เข้ามาได้นะครับ มาดูไฟฟ้า 3เฟต กันบ้างครับ เราจะใช้สาย line ที่มีไฟ 3 เส้น line เส้นที่3 จะเป็นคลื่นไซน์เวฟ เชนเดียวกันนั้นแหละครับ ทำมุมอีก 120 องศา ก็จะได้กราฟที่หน้าตา เหลือเชื่อ ออกมาเป็นแบบนี้ครับ แล้วปกติเลยนะครับ สัญญาณไฟฟ้าเหล่านี้ เราก็จะแยกออกจากกัน เดินคู่กันไปบนเสาไฟฟ้า เราก็จะสรุปได้ 1 ข้อว่า นะครับว่า ไฟ 3 เฟต แรงดัน หรือ โวล์ต จะไม่แตกต่างกัน แต่เฟตจะทำมุมต่างกัน แล้วทำไมทั้ง 3 เฟต มีมุมสัญญาณไม่เท่ากัน เราจะมาทำความเข้าใจ สิ่งนี้ ตั้งแต่ต้นตอกันเลยครับ นั้นก็คือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรือ เจนเนอร์เรเตอร์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1 เฟต ประกอบไปด้วย ลวดทองแดง 2 ขดลวด โดยทั้ง 2 ขดเขาก็จะวาง มันตรงข้ามกัน แล้วปลายขดลวดด้าน1 ของทั้ง 2 ขด เราก็จะต่อเข้าด้วยกัน และ อีกด้านของแต่ละขดเราจะต่อออกมาใช้งาน เราก็จะได้ไฟมาใช้ 1 ชุด หรือไฟ 1เฟส มาใช้เรียบร้อยแล้วครับ ถ้าหากเราต้องการไฟฟ้ากระแสสลับออกมาใช้งาน เราเพียงแค่หมุนแม่เหล็ก ที่มีขั้วตรงกันข้าม หมุน ตัดผ่านขดลวด แค่นั้นเองครับ ในแท่งของแกนแม่เหล็กมันก็จะมี สนามแม่เหล็กอยู่ สนามแม่เหล็กตัวนี้เอง ที่จะทำให้อิเล็กตรอนอิสระในสายไฟ ไหลไปเวียนมา สนามแม่เหล็กในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าก็เป็นในแบบ ที่เราคุ้นเคยนั้นแหละครับ ก็จะอยู่ในรูปของวงรี และวงรีพวกนี้มันก็จะมีเส้นแรงแม่เหล็ก มาบรรจบกันตรงแกนกลาง ให้เราคิดว่า ด้านหนึ่งจะเป็นขั้ว บวก ด้านหนึ่งเป็นขั้วลบ และในระหว่าง แกนกลางของ วงรีเหล่านี้ สนามแม่เหล็กจะเป็น 0 สำหรับความเข้มของสนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กตรงกลางที่มันนูนๆ จะให้พลังงานมากที่สุด ตรงขอบโค้งที่มันตกลงตรงนี้ จะให้พลังงานน้อยลง และแกนกลางจะไม่มีพลังงานใดๆ เกิดขึ้นจะเป็น Neutral ดังนั้น ขณะ ที่สนามแม่เหล็ก หมุนตัดผ่านขดลวด มันก็จะมีความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กไม่เท่ากันเกิดขึ้น และนี่ทำให้เราเห็นสโคป ของกระแสสลับ มันโค้งมน ไม่ได้เป็นเหลี่ยม เหมือน สัญญาณ ดิจิตอล ผมเคยเจอภาพหนึ่งนะครับ เขาเคยบอกไว้ ว่า เครื่องใช้ไฟฟ้า ถ้ามันชีวิตจิตใจ มัจะรู้สึกเจ็บน้อยที่สุดเมื่อมันเป็น ไฟฟ้ากระแสสลับที่ มีรูปสัญญาณเป็นแบบไซน์เวฟแบบนี้ ถ้าเรามาดูที่ภาพจำลองจะเห็นได้ว่า ระหว่างที่แม่เหล็กกำลังหมุนอยู่นั้น เราจะเห็นอิเล็กตรอนมันเคลื่อนที่ โดยเคลื่อนที่ ช้าๆค่อยเพิ่มความเร็ว มาเร็วสุด แล้วก็ช้าลง อีกครั้ง หลังจากนั้นก็หยุดการเคลื่อนที่ แล้วมันก็จะทำเหมือนกันกับอีกฝั่งหนึ่ง โดยเป็นด้านลบ มันจะดึงอิเล็กตรอนไปอีกฝั่งหนึ่งตรงกันข้ามกลับกัน ถ้าเอามาดูที่กราฟก็จะเห้นทั้ง + และ - การหมุนที่ดีที่สมบูรณ์ ก็ควรที่จะได้ ไฟ 1 Cycle และไฟบ้านก็จะมี จำนวนรอบแบบนี้ 50 รอบต่อวินาที เราก็จะเรียกว่าเป็นความถี่ 50hz ถ้าเราต่อไฟ 1 เฟต แล้วสโลโมชั่น ก็จะเห็นหลอดไฟมันสว่าง สุด แล้ว ก็จะสว่างน้อยลง จนดับ แล้วมันก็จะค่อยๆสว่างขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อมันไปทางครึ่งลบ อิเล็กตรอนมันก็จะไหล ย้อนกลับตรงกันข้าม ถ้าไม่อยากให้หลอดมันกระพริบ เราก็สามารถเพิ่มจำนวนหลอดอีก 1 หลอด เข้าไป แล้วเราก็จะวางขดลวดทำมุม 120 องศาจากชุดแรก ก็จะได้เฟตที่ 2 เมื่อเราหมุน ขดลวด จะมีความเข้ม ของสนามแม่เหล็กที่ไม่เท่ากัน เมื่อหลอดไฟดวงแรก สว่างสุด แล้ว ลดความสว่างลงมา ขดลวดที่2 ก็จะมาเติมเต็ม สว่างเพิ่มขึ้น วิธีนี้จะช่วย เติมเต็มแสง ที่มันมีช่องว่างอยู่ เพราะฉะนั้นเราก็สามารถเพิ่มขดลวดหลายๆชุดเข้าไปได้อีก สมมุตติว่าผมเพิ่มอีก 1เฟต เป็น 3 เฟต เพราะฉะนั้นหลอดไฟทั้ง 3 ดวงของผมมมันก็จะสว่างสลับกันเกือบตลอดเวลาเลยครับ มาถึงคำถามยอดฮิต กันบ้างนะครับ 1.ไฟ 2 เฟส คนใช้หรือไม่ ? 2.ไฟ 3 เฟต ใช้กับอะไร ? 3. ไฟฟ้า 1เฟส = 220V แล้วทำไมไฟ 2 เฟสมี 380V ทำไมไม่ 440V ? คำถามนี้น่า

Comments
  • ไฟฟ้า 1 เฟส VS 3 เฟส ต่างกันยังไง ? | คุยกับลุงช่าง 3 years ago
    ไฟฟ้า 1 เฟส VS 3 เฟส ต่างกันยังไง ? | คุยกับลุงช่าง
    Опубликовано: 3 years ago
    322826
  • EV จีนระส่ำ หลายแบรนด์ทยอยปิดตัว | เศรษฐกิจติดบ้าน 5 days ago
    EV จีนระส่ำ หลายแบรนด์ทยอยปิดตัว | เศรษฐกิจติดบ้าน
    Опубликовано: 5 days ago
    337156
  • How does an Electric Motor work?  (DC Motor) 4 years ago
    How does an Electric Motor work? (DC Motor)
    Опубликовано: 4 years ago
    21088505
  • ไฟฟ้าเบื้องต้น EP1/3(ไฟฟ้าคืออะไร ? ไฟฟ้าทำงานอย่างไร?) 3 years ago
    ไฟฟ้าเบื้องต้น EP1/3(ไฟฟ้าคืออะไร ? ไฟฟ้าทำงานอย่างไร?)
    Опубликовано: 3 years ago
    208511
  • ทำไมไฟบ้านต้องใช้กระแสสลับ Why using AC? 9 days ago
    ทำไมไฟบ้านต้องใช้กระแสสลับ Why using AC?
    Опубликовано: 9 days ago
    2977
  • เคลียร์ข้อสงสัย หน้าร้อนทำไมค่าไฟแพงกว่าปกติ | KEY MESSAGES #129 1 year ago
    เคลียร์ข้อสงสัย หน้าร้อนทำไมค่าไฟแพงกว่าปกติ | KEY MESSAGES #129
    Опубликовано: 1 year ago
    128810
  • โซล่าเซลล์คืออะไร?  โซล่าเซลล์ทํางานอย่างไร? 3 years ago
    โซล่าเซลล์คืออะไร? โซล่าเซลล์ทํางานอย่างไร?
    Опубликовано: 3 years ago
    179283
  • ประวัติศาสตร์การผลิตไฟฟ้า ไฟฟ้ามาจากไหน? | Point of View x EGAT 1 year ago
    ประวัติศาสตร์การผลิตไฟฟ้า ไฟฟ้ามาจากไหน? | Point of View x EGAT
    Опубликовано: 1 year ago
    699885
  • R ลดแรงดัน Part2/3 (วงจรแบ่งแรงดันขณะมีโหลด Voltage divider) 3 years ago
    R ลดแรงดัน Part2/3 (วงจรแบ่งแรงดันขณะมีโหลด Voltage divider)
    Опубликовано: 3 years ago
    120188
  • Как работает ТРАНСФОРМАТОР. Принцип работы трансформатора в блоках питания. Понятное объяснение! 5 years ago
    Как работает ТРАНСФОРМАТОР. Принцип работы трансформатора в блоках питания. Понятное объяснение!
    Опубликовано: 5 years ago
    1753308

Контактный email для правообладателей: [email protected] © 2017 - 2025

Отказ от ответственности - Disclaimer Правообладателям - DMCA Условия использования сайта - TOS