У нас вы можете посмотреть бесплатно ถ่านอัดแท่งจากกะลาแมคคาเดเมีย или скачать в максимальном доступном качестве, видео которое было загружено на ютуб. Для загрузки выберите вариант из формы ниже:
Если кнопки скачивания не
загрузились
НАЖМИТЕ ЗДЕСЬ или обновите страницу
Если возникают проблемы со скачиванием видео, пожалуйста напишите в поддержку по адресу внизу
страницы.
Спасибо за использование сервиса ClipSaver.ru
การผลิตถ่านอัดแท่งจากกะลาแมคคาเดเมีย โดยการนำเศษเหลือทิ้งจากกระบวนการแปรรูปแมคคาเดเมีย ซึ่งมีศักยภาพในการใช้เป็นพลังงานทดแทนได้ เนื่องจากถ่านจากเปลือกแมคคาเดเมียมีความหนาแน่นและรูพรุนสูง สามารถนำมาทำเป็นถ่านกัมมันต์ได้ โดยการนำกะลาแมคคาเดเมียที่เหลือทิ้งมาผ่านกระบวนการ Torrefaction เพื่อกำจัดความชื้นและสารอินทรีย์ที่ระเหยได้ออกจากชีวมวลเปลือกกะลาแมคคาเดเมีย ซึ่งมีเนื้อกะลาที่แข็งและมีไขมันของแมคคาเดเมียอยู่ในเปลือกกะลา ทำให้ถ่านแมคคาเดเมียมีไฟแรง ติดทนนาน ไร้ควัน และสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารหรือปิ้งย่างได้ดี เนื่องจากให้ความร้อนสูงและมีขี้เถ้าน้อย นอกจากนี้ ถ่านแมคคาเดเมียยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น ใช้ดูดกลิ่น ดูดสารพิษ และสามารถใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาบน้ำและบำรุงผิว เช่น สบู่ได้อีกด้วย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรชัย มัธยัสถ์ถาวร ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-6042-5250 ******************************************* Charcoal Briquettes from Macadamia Shells Producing charcoal briquettes from macadamia shells is how we make the most of the remnants from the macadamia processing procedure. With high levels of density and porosity, the charcoal briquettes can be used as alternative energy and activated carbon. Undergoing torrefaction, moisture content and organic substances in macadamia shells volatize, leaving the shells rigid and rich in macadamia oil. As a result, the macadamia charcoal gives a powerful, smokeless flame with a high level of heat and less amount of ashes produced, making it perfect for cooking and grilling. Moreover, macadamia charcoal has versatile usages. It can deodorize, detoxicate, and be an ingredient for bath products and skincare like soap. For further information, please contact Asst. Prof. Weerachai Matthayatthaworn at the Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University (Bangkhen Campus), or at 08-6042-5250 🌟 ผลงานวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรชัย มัธยัสถ์ถาวร ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 🌟 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ : วนิดา รัตตมณี วิทวัส ยุทธโกศา ฝ่ายเผยแพร่งานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. โทร. 0-2579-6111 🌟ติดตามข่าวสารและความเคลื่อนไหวได้ที่.. Fanpage : / kasetnumthaitv Youtube : / kasetsartnamthai tiktok : / kasetsartnamthai 🌟แนะนำ/ติชม เกษตรศาสตร์นำไทยได้ที่.. https://forms.gle/pwCefd4uJcsvbqcZ9